บทวิเคราะห์ CEO ยุคเปลี่ยนผ่าน ใช้ Social Media

บทวิเคราะห์ CEO ยุคเปลี่ยนผ่าน ใช้ Social Media

วิบูลย์ จุง // Wiboon Joong (wbj)


 

IBM ได้นำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นของ CEO ทั่วโลก กว่า 1,700 คน จาก 64 ประเทศ และ 18 กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่ง การนำเสนอแนวคิดของ CEO ครั้งนี้ เป็นนวัตกรรมการทำธุรกิจ ที่นำมาถ่ายทอดให้กับนักธุรกิจไทย ซึ่งผลการศึกษาฯ เผยให้เห็นว่า ปัจจุบัน เทคโนโลยีถูกมองว่า เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร

ผลการสำรวจความคิดเห็น:

นั่นหมายถึง CEO บางกลุ่มเชื่อมั่นว่า Social Media มีส่วนทำให้องค์กรมีการเปลี่ยนแปลง และ มีอิทธิพลต่อพนักงานในองค์กร ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าในองค์กรที่ให้ใช้งาน Social Media ส่วนใหญ่พนักงานจะใช้เวลาในการเข้า Social Media เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน การใช้ Social Media ก็จะส่งผลให้เกิดภาพลักษณ์ของบุคคล ภาพลักษณ์ขององค์กร ได้ดีเช่นกัน ทั้งนี้ การสร้างภาพลักษณ์ทั้งบุคคล และ องค์กร ต้องใช้เทคนิคในการสร้างเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพ โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจ รวมถึง นำเสนอแนวความคิดของผุ้บริหาร เพื่อให้เพื่อนใน Social Media ได้เกิดประโยชน์ต่อเขา  แต่หากใช้เพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตนเองและองค์กรเพียงอย่างเดียว อาจจะทำให้ภาพลักษณ์เสีย ซึ่งไม่ก่อให้เกิดผลประโยชน์จากการใช้ Social Media แถมยังทำให้ชื่อเสียงภาพลักษณ์ไม่ดีอีกด้วย
 


องค์กรสมัยใหม่ มีข้อมูลภายในจำนวนมาก ดังนั้น การใช้ข้อมูลเชิงลึก จึงได้จากการวิเคราะห์ Data Mining เพื่อทำให้เห็นองค์ประกอบของฐานข้อมูลที่มี จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาต่อยอดใช้ Innovation ในการปรับทั้งดำเนินงาน และ ผลิดภัณฑ์ เพื่อให้ได้สินค้าที่มีความแตกต่าง และ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น  


การใช้ Social Media ในการเป็นแพลตฟอร์มในการติดต่อลูกค้านั้น เนื่องจาก การผลักดันการมีสังคมของ Social Media มีอิทธิพลต่อประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลรุ่น GEN Y ที่มีการใช้ Internet กันอย่างกว้างขวาง ดังนั้น ธุรกิจที่ต้องติดต่อกับ ผู้ใช้โดยตรง จึงหันมาใช้ Social Media ในการติดต่อและให้ข้อมูลแก่ลูกค้าโดยตรงมากยิ่งขึ้น พฤติกรรมของประชาชนใน ASEAN ต่างมีพื้นฐานในการชอบสังคม มากกว่าการอยู่อย่างโดดเดี่ยว ดังนั้น การใช้ Social Network จึงเป็นช่องทางที่เหมาะกับ พฤติกรรมของประชาชนชาว ASEAN แต่เนื่องจาก Infra Structure และ องค์ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ของบางประเทศ ยังไม่ตอบสนองต่อการใช้ Internet ดังนั้น อัตราการเพิ่มการใช้ Social Network จึงอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เป็นส่วนใหญ่   เนื่องจากประเทศในกลุ่ม ASEAN เป็นกลุ่มกำลังพัฒนา อีกทั้ง การเปิดเสรี ASEAN ทำให้องค์กรในแต่ละประเทศเกิดการรวมตัวเพื่อสร้าง Barrier และ สร้างความแข็งแกร่งภายในประเทศให้เกิดขึ้น ซึ่งการเน้นการประสานงานร่วมกันภายในขององค์กร จึงหลีกเลี่ยงที่จะทำให้เกิดขึ้นไม่ได้ (หัวข้อวิจัยนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่า ไม่น่าจะเป็นผลที่เกิดจาก Socail Media)  ทั้งนี้เป็นผลจากพฤติกรรมของประชาชนใน ASEAN ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น จึงต้องทำให้ CEO มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการติดต่อสื่อสารมากขึ้น อีกทั้ง การเดินทางเพื่อพบปะกันจะเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากกว่าการใช้ Social Network จึงเป็นเหตุที่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะดังกล่าว ในกลุ่มประเทศ ASEAN เป็นกลุ่มประเทศการผลิต มีเพียง สิงคโปร์ ที่เป็น กลุ่มประเทศทางการตลาด ดังนั้น ผลของการสำรวจออกมาเน้น ทักษะ ของคนจึงเป็นเรื่องปกติ ทั้งนี้ CEO ส่วนใหญ่อยุ่ในสายการผลิตมากกว่า ร้อยละ 70 ในข้อตกลง AEC มีหัวข้อในการโอนย้ายการทำงานของบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ จึงเป็นเหตุให้แต่ละประเทศ มุ่งเน้นเรื่องทรัพยากรบุคคล เป็นส่วนใหญ่ (หัวข้อวิจัยนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่า ไม่น่าจะเป็นผลที่เกิดจาก Socail Media)

 

ทั้งนี้ ผลการสำรวจยังชี้ให้เห็นว่า การเปิดกว้างที่เพิ่มขึ้นอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงตามมา และทำให้เกิดช่องโหว่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น พนักงานจึงต้องผสานรวมค่านิยมและพันธกิจขององค์กรเข้าไว้ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว เพื่อให้องค์กรดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และองค์กรเอง ก็ต้องจัดหาแนวทางให้แก่พนง. เพื่อให้ พนง.สามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในแต่ละวัน

เนื่องจากปัจจุบัน องค์กรส่วนใหญ่ ต้องรับมือกับปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้น CEO จึงต้องตระหนักถึงความจำเป็นในการทำ Business Analytics เพื่อกลั่นกรองข้อมูลที่ถูกตรวจสอบติดตามทาง on-line บน Smartphone และ Social Media ด้วย ซึ่งจากผลสำรวจนั้น มีCEO ถึง 7 ใน 10 กำลังดำเนินการลงทุนอย่างจริงจัง เพื่อกลั่นกรองข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับลูกค้าจากข้อมูลดิบที่มีอยู่

การเติบโตของการใช้ Smartphone และ Social Media ในกลุ่มประเทศ ASEAN มีอัตราการเติบโตค่อนข้างสูง ทั้งนี้ แค่ในประเทศไทย มีจำนวนมือถือต่อจำนวนประชากรถึงร้อยละ 107 นั่นหมายถึง มีจำนวนมือถือมากกว่าคนในประเทศ และ การใช้ Social Media ใน ASEAN ก็มีความนิยมอย่างมาก การให้การคำนึงถึงผลกระทบจากพฤติกรรมประชากร จึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

จาก http://www.banmuang.co.th/2012/09/ไอบีเอ็มสำรวจซีอีโอยุค

จากคุณ : wbj [7 ธ.ค. 55 09:24:18 ]
ความเห็นที่ 1

อยากอ่านจังค่ะ แต่สีที่เลือกมา มันปวดตาจัง

จากคุณ : bamby [7 ธ.ค. 55 10:10:48 ]
ความเห็นที่ 2

IBM ได้นำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นของ CEO ทั่วโลก กว่า 1,700 คน จาก 64 ประเทศ และ 18 กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่ง การนำเสนอแนวคิดของ CEO ครั้งนี้ เป็นนวัตกรรมการทำธุรกิจ ที่นำมาถ่ายทอดให้กับนักธุรกิจไทย ซึ่งผลการศึกษาฯ เผยให้เห็นว่า ปัจจุบัน เทคโนโลยีถูกมองว่า เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร


ผลการสำรวจความคิดเห็น:

บริษัทที่มีผลประกอบการดีกว่าบริษัทอื่นๆ มีแนวโน้มมากกว่า 30% ที่จะระบุว่า การเปิดกว้าง (Openness) ซึ่งการใช้ Social Media ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการประสานงานและสร้างสรรค์นวัตกรรมร่วมกัน และถือเป็นปัจจัยหลักที่มีอิทธิพลต่อองค์กรของตน
นั่นหมายถึง CEO บางกลุ่มเชื่อมั่นว่า Social Media มีส่วนทำให้องค์กรมีการเปลี่ยนแปลง และ มีอิทธิพลต่อพนักงานในองค์กร ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าในองค์กรที่ให้ใช้งาน Social Media ส่วนใหญ่พนักงานจะใช้เวลาในการเข้า Social Media เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน การใช้ Social Media ก็จะส่งผลให้เกิดภาพลักษณ์ของบุคคล ภาพลักษณ์ขององค์กร ได้ดีเช่นกัน ทั้งนี้ การสร้างภาพลักษณ์ทั้งบุคคล และ องค์กร ต้องใช้เทคนิคในการสร้างเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพ โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจ รวมถึง นำเสนอแนวความคิดของผุ้บริหาร เพื่อให้เพื่อนใน Social Media ได้เกิดประโยชน์ต่อเขา  แต่หากใช้เพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตนเองและองค์กรเพียงอย่างเดียว อาจจะทำให้ภาพลักษณ์เสีย ซึ่งไม่ก่อให้เกิดผลประโยชน์จากการใช้ Social Media แถมยังทำให้ชื่อเสียงภาพลักษณ์ไม่ดีอีกด้วย


CEO กำลังปรับใช้รูปแบบใหม่ในการทำงาน โดย ใช้ประโยชน์จากข้อมูลเชิงลึกภายในอง
ค์กร และเครือข่ายเพื่อคิดค้นแนวคิด และ solution ใหม่ๆ ซึ่ง จะช่วยเพิ่มผลกำไรและขยายธุรกิจให้เติบโต
องค์กรสมัยใหม่ มีข้อมูลภายในจำนวนมาก ดังนั้น การใช้ข้อมูลเชิงลึก จึงได้จากการวิเคราะห์ Data Mining เพื่อทำให้เห็นองค์ประกอบของฐานข้อมูลที่มี จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาต่อยอดใช้ Innovation ในการปรับทั้งดำเนินงาน และ ผลิดภัณฑ์ เพื่อให้ได้สินค้าที่มีความแตกต่าง และ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น  


CEO จำนวน 16% ใช้แพลตฟอร์ม Social Business เพื่อเชื่อมต่อกับลูกค้าแต่ละราย และคาดว่า จะเพิ่มเป็น 57% ภายในช่วง 3-5 ปี ข้างหน้า
การใช้ Social Media ในการเป็นแพลตฟอร์มในการติดต่อลูกค้านั้น เนื่องจาก การผลักดันการมีสังคมของ Social Media มีอิทธิพลต่อประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลรุ่น GEN Y ที่มีการใช้ Internet กันอย่างกว้างขวาง ดังนั้น ธุรกิจที่ต้องติดต่อกับ ผู้ใช้โดยตรง จึงหันมาใช้ Social Media ในการติดต่อและให้ข้อมูลแก่ลูกค้าโดยตรงมากยิ่งขึ้น
คาดว่า การใช้ social network ใน ASEAN จะเพิ่มเป็น 68% (ปัจจุบัน 25%)
พฤติกรรมของประชาชนใน ASEAN ต่างมีพื้นฐานในการชอบสังคม มากกว่าการอยู่อย่างโดดเดี่ยว ดังนั้น การใช้ Social Network จึงเป็นช่องทางที่เหมาะกับ พฤติกรรมของประชาชนชาว ASEAN แต่เนื่องจาก Infra Structure และ องค์ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ของบางประเทศ ยังไม่ตอบสนองต่อการใช้ Internet ดังนั้น อัตราการเพิ่มการใช้ Social Network จึงอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เป็นส่วนใหญ่  
CEO ใน ASEAN ถึง 47% กำลังปรับเปลี่ยนการมุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมการประสานงานร่วมกันภายในองค์กรอย่างเหมาะสม
เนื่องจากประเทศในกลุ่ม ASEAN เป็นกลุ่มกำลังพัฒนา อีกทั้ง การเปิดเสรี ASEAN ทำให้องค์กรในแต่ละประเทศเกิดการรวมตัวเพื่อสร้าง Barrier และ สร้างความแข็งแกร่งภายในประเทศให้เกิดขึ้น ซึ่งการเน้นการประสานงานร่วมกันภายในขององค์กร จึงหลีกเลี่ยงที่จะทำให้เกิดขึ้นไม่ได้ (หัวข้อวิจัยนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่า ไม่น่าจะเป็นผลที่เกิดจาก Socail Media)  
CEO ใน ASEAN ยังมีแผนที่จะปรับเปลี่ยนจากการติดต่อสื่อสารรูปแบบเดิมๆ ไปสู่การใช้ social media ควบคู่ไปกับการติดต่อพบปะกันเป็นการส่วนตัว
ทั้งนี้เป็นผลจากพฤติกรรมของประชาชนใน ASEAN ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น จึงต้องทำให้ CEO มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการติดต่อสื่อสารมากขึ้น อีกทั้ง การเดินทางเพื่อพบปะกันจะเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากกว่าการใช้ Social Network จึงเป็นเหตุที่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะดังกล่าว
CEO ใน ASEAN ถึง 68% เห็นพ้องต้องกันว่า “เทคโนโลยี” เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรของตน แต่ขณะเดียวกัน ก็มองว่า “ทักษะ” เป็นปัจจัยที่สำคัญมากที่สุดรองลงมาคือ ปัจจัยเกี่ยวกับ “ตลาด”
ในกลุ่มประเทศ ASEAN เป็นกลุ่มประเทศการผลิต มีเพียง สิงคโปร์ ที่เป็น กลุ่มประเทศทางการตลาด ดังนั้น ผลของการสำรวจออกมาเน้น ทักษะ ของคนจึงเป็นเรื่องปกติ ทั้งนี้ CEO ส่วนใหญ่อยุ่ในสายการผลิตมากกว่า ร้อยละ 70
CEO ใน ASEAN ถึง 72% ระบุว่า “ทรัพยากรบุคคล” เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนสำหรับองค์กร ดังนั้น จึงคาดการณ์ได้ว่า จะมีความต้องการที่สูงมากสำหรับบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในภูมิภาค ASEAN
ในข้อตกลง AEC มีหัวข้อในการโอนย้ายการทำงานของบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ จึงเป็นเหตุให้แต่ละประเทศ มุ่งเน้นเรื่องทรัพยากรบุคคล เป็นส่วนใหญ่ (หัวข้อวิจัยนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่า ไม่น่าจะเป็นผลที่เกิดจาก Socail Media)


ทั้งนี้ ผลการสำรวจยังชี้ให้เห็นว่า การเปิดกว้างที่เพิ่มขึ้นอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงตามมา และทำให้เกิดช่องโหว่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น พนักงานจึงต้องผสานรวมค่านิยมและพันธกิจขององค์กรเข้าไว้ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว เพื่อให้องค์กรดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และองค์กรเอง ก็ต้องจัดหาแนวทางให้แก่พนง. เพื่อให้ พนง.สามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในแต่ละวัน

เนื่องจากปัจจุบัน องค์กรส่วนใหญ่ ต้องรับมือกับปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้น CEO จึงต้องตระหนักถึงความจำเป็นในการทำ Business Analytics เพื่อกลั่นกรองข้อมูลที่ถูกตรวจสอบติดตามทาง on-line บน Smartphone และ Social Media ด้วย ซึ่งจากผลสำรวจนั้น มีCEO ถึง 7 ใน 10 กำลังดำเนินการลงทุนอย่างจริงจัง เพื่อกลั่นกรองข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับลูกค้าจากข้อมูลดิบที่มีอยู่

การเติบโตของการใช้ Smartphone และ Social Media ในกลุ่มประเทศ ASEAN มีอัตราการเติบโตค่อนข้างสูง ทั้งนี้ แค่ในประเทศไทย มีจำนวนมือถือต่อจำนวนประชากรถึงร้อยละ 107 นั่นหมายถึง มีจำนวนมือถือมากกว่าคนในประเทศ และ การใช้ Social Media ใน ASEAN ก็มีความนิยมอย่างมาก การให้การคำนึงถึงผลกระทบจากพฤติกรรมประชากร จึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
จาก http://www.banmuang.co.th/2012/09/ไอบีเอ็มสำรวจซีอีโอยุค

จากคุณ : ลิลลี่ ระพี [7 ธ.ค. 55 11:56:52 ]
ความเห็นที่ 3

ขอบคุณ คุณ wbj มากครับ แต่สีที่ใช้ อ่านยาก ทีเดียวครับ ไม่แน่ใจว่า เพื่อนๆ ท่านอื่นๆ นอกจาก คคห 1 จะเป็นเหมือนกันอีกหรือเปล่า

อย่างไร ก็ดี ขอบคุณมากนะครับ

จากคุณ : ตาลายเลย (iBeeGee) [7 ธ.ค. 55 18:35:47 ]
ความเห็นที่ 4

บทวิเคราะห์ CEO ยุคเปลี่ยนผ่าน ใช้ Social Media

วิบูลย์ จุง // Wiboon Joong (wbj)



IBM ได้นำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นของ CEO ทั่วโลก กว่า 1,700 คน จาก 64 ประเทศ และ 18 กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่ง การนำเสนอแนวคิดของ CEO ครั้งนี้ เป็นนวัตกรรมการทำธุรกิจ ที่นำมาถ่ายทอดให้กับนักธุรกิจไทย ซึ่งผลการศึกษาฯ เผยให้เห็นว่า ปัจจุบัน เทคโนโลยีถูกมองว่า เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร


ผลการสำรวจความคิดเห็น:

บริษัทที่มีผลประกอบการดีกว่าบริษัทอื่นๆ มีแนวโน้มมากกว่า 30% ที่จะระบุว่า การเปิดกว้าง (Openness) ซึ่งการใช้ Social Media ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการประสานงานและสร้างสรรค์นวัตกรรมร่วมกัน และถือเป็นปัจจัยหลักที่มีอิทธิพลต่อองค์กรของตน
นั่นหมายถึง CEO บางกลุ่มเชื่อมั่นว่า Social Media มีส่วนทำให้องค์กรมีการเปลี่ยนแปลง และ มีอิทธิพลต่อพนักงานในองค์กร ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าในองค์กรที่ให้ใช้งาน Social Media ส่วนใหญ่พนักงานจะใช้เวลาในการเข้า Social Media เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน การใช้ Social Media ก็จะส่งผลให้เกิดภาพลักษณ์ของบุคคล ภาพลักษณ์ขององค์กร ได้ดีเช่นกัน ทั้งนี้ การสร้างภาพลักษณ์ทั้งบุคคล และ องค์กร ต้องใช้เทคนิคในการสร้างเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพ โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจ รวมถึง นำเสนอแนวความคิดของผุ้บริหาร เพื่อให้เพื่อนใน Social Media ได้เกิดประโยชน์ต่อเขา  แต่หากใช้เพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตนเองและองค์กรเพียงอย่างเดียว อาจจะทำให้ภาพลักษณ์เสีย ซึ่งไม่ก่อให้เกิดผลประโยชน์จากการใช้ Social Media แถมยังทำให้ชื่อเสียงภาพลักษณ์ไม่ดีอีกด้วย


CEO กำลังปรับใช้รูปแบบใหม่ในการทำงาน โดย ใช้ประโยชน์จากข้อมูลเชิงลึกภายในอง
ค์กร และเครือข่ายเพื่อคิดค้นแนวคิด และ solution ใหม่ๆ ซึ่ง จะช่วยเพิ่มผลกำไรและขยายธุรกิจให้เติบโต
องค์กรสมัยใหม่ มีข้อมูลภายในจำนวนมาก ดังนั้น การใช้ข้อมูลเชิงลึก จึงได้จากการวิเคราะห์ Data Mining เพื่อทำให้เห็นองค์ประกอบของฐานข้อมูลที่มี จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาต่อยอดใช้ Innovation ในการปรับทั้งดำเนินงาน และ ผลิดภัณฑ์ เพื่อให้ได้สินค้าที่มีความแตกต่าง และ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น  


CEO จำนวน 16% ใช้แพลตฟอร์ม Social Business เพื่อเชื่อมต่อกับลูกค้าแต่ละราย และคาดว่า จะเพิ่มเป็น 57% ภายในช่วง 3-5 ปี ข้างหน้า
การใช้ Social Media ในการเป็นแพลตฟอร์มในการติดต่อลูกค้านั้น เนื่องจาก การผลักดันการมีสังคมของ Social Media มีอิทธิพลต่อประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลรุ่น GEN Y ที่มีการใช้ Internet กันอย่างกว้างขวาง ดังนั้น ธุรกิจที่ต้องติดต่อกับ ผู้ใช้โดยตรง จึงหันมาใช้ Social Media ในการติดต่อและให้ข้อมูลแก่ลูกค้าโดยตรงมากยิ่งขึ้น
คาดว่า การใช้ social network ใน ASEAN จะเพิ่มเป็น 68% (ปัจจุบัน 25%)
พฤติกรรมของประชาชนใน ASEAN ต่างมีพื้นฐานในการชอบสังคม มากกว่าการอยู่อย่างโดดเดี่ยว ดังนั้น การใช้ Social Network จึงเป็นช่องทางที่เหมาะกับ พฤติกรรมของประชาชนชาว ASEAN แต่เนื่องจาก Infra Structure และ องค์ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ของบางประเทศ ยังไม่ตอบสนองต่อการใช้ Internet ดังนั้น อัตราการเพิ่มการใช้ Social Network จึงอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เป็นส่วนใหญ่  
CEO ใน ASEAN ถึง 47% กำลังปรับเปลี่ยนการมุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมการประสานงานร่วมกันภายในองค์กรอย่างเหมาะสม
เนื่องจากประเทศในกลุ่ม ASEAN เป็นกลุ่มกำลังพัฒนา อีกทั้ง การเปิดเสรี ASEAN ทำให้องค์กรในแต่ละประเทศเกิดการรวมตัวเพื่อสร้าง Barrier และ สร้างความแข็งแกร่งภายในประเทศให้เกิดขึ้น ซึ่งการเน้นการประสานงานร่วมกันภายในขององค์กร จึงหลีกเลี่ยงที่จะทำให้เกิดขึ้นไม่ได้ (หัวข้อวิจัยนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่า ไม่น่าจะเป็นผลที่เกิดจาก Socail Media)  
CEO ใน ASEAN ยังมีแผนที่จะปรับเปลี่ยนจากการติดต่อสื่อสารรูปแบบเดิมๆ ไปสู่การใช้ social media ควบคู่ไปกับการติดต่อพบปะกันเป็นการส่วนตัว
ทั้งนี้เป็นผลจากพฤติกรรมของประชาชนใน ASEAN ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น จึงต้องทำให้ CEO มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการติดต่อสื่อสารมากขึ้น อีกทั้ง การเดินทางเพื่อพบปะกันจะเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากกว่าการใช้ Social Network จึงเป็นเหตุที่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะดังกล่าว
CEO ใน ASEAN ถึง 68% เห็นพ้องต้องกันว่า “เทคโนโลยี” เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรของตน แต่ขณะเดียวกัน ก็มองว่า “ทักษะ” เป็นปัจจัยที่สำคัญมากที่สุดรองลงมาคือ ปัจจัยเกี่ยวกับ “ตลาด”
ในกลุ่มประเทศ ASEAN เป็นกลุ่มประเทศการผลิต มีเพียง สิงคโปร์ ที่เป็น กลุ่มประเทศทางการตลาด ดังนั้น ผลของการสำรวจออกมาเน้น ทักษะ ของคนจึงเป็นเรื่องปกติ ทั้งนี้ CEO ส่วนใหญ่อยุ่ในสายการผลิตมากกว่า ร้อยละ 70
CEO ใน ASEAN ถึง 72% ระบุว่า “ทรัพยากรบุคคล” เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนสำหรับองค์กร ดังนั้น จึงคาดการณ์ได้ว่า จะมีความต้องการที่สูงมากสำหรับบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในภูมิภาค ASEAN
ในข้อตกลง AEC มีหัวข้อในการโอนย้ายการทำงานของบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ จึงเป็นเหตุให้แต่ละประเทศ มุ่งเน้นเรื่องทรัพยากรบุคคล เป็นส่วนใหญ่ (หัวข้อวิจัยนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่า ไม่น่าจะเป็นผลที่เกิดจาก Socail Media)


ทั้งนี้ ผลการสำรวจยังชี้ให้เห็นว่า การเปิดกว้างที่เพิ่มขึ้นอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงตามมา และทำให้เกิดช่องโหว่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น พนักงานจึงต้องผสานรวมค่านิยมและพันธกิจขององค์กรเข้าไว้ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว เพื่อให้องค์กรดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และองค์กรเอง ก็ต้องจัดหาแนวทางให้แก่พนง. เพื่อให้ พนง.สามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในแต่ละวัน

เนื่องจากปัจจุบัน องค์กรส่วนใหญ่ ต้องรับมือกับปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้น CEO จึงต้องตระหนักถึงความจำเป็นในการทำ Business Analytics เพื่อกลั่นกรองข้อมูลที่ถูกตรวจสอบติดตามทาง on-line บน Smartphone และ Social Media ด้วย ซึ่งจากผลสำรวจนั้น มีCEO ถึง 7 ใน 10 กำลังดำเนินการลงทุนอย่างจริงจัง เพื่อกลั่นกรองข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับลูกค้าจากข้อมูลดิบที่มีอยู่

การเติบโตของการใช้ Smartphone และ Social Media ในกลุ่มประเทศ ASEAN มีอัตราการเติบโตค่อนข้างสูง ทั้งนี้ แค่ในประเทศไทย มีจำนวนมือถือต่อจำนวนประชากรถึงร้อยละ 107 นั่นหมายถึง มีจำนวนมือถือมากกว่าคนในประเทศ และ การใช้ Social Media ใน ASEAN ก็มีความนิยมอย่างมาก การให้การคำนึงถึงผลกระทบจากพฤติกรรมประชากร จึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
จาก http://www.banmuang.co.th/2012/09/ไอบีเอ็มสำรวจซีอีโอยุค

จากคุณ : ลอง post แบบสีไม่แสบตาดู (Bgate) [11 ธ.ค. 55 02:01:25 ]