|
ความคิดเห็นที่ 7 |
|
อธิบายไม่ถูกค่ะ มันเป็นวิชาแนวๆพวกวิทยุโทรทัศน์ แล้วพวก Broadcasting ค่ะ
ขออนุญาตก็อปมาบางส่วนตามเครดิต จาก http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=9721 ตาของคน(นัยตา ไม่ใช่พ่อของยาย) ตรงจอตา(เรตินา) จะมีเซลประสาทรับสีแสง อยู่สองชุด รับแสงที่บอกสีไม่ได้ เรียกว่าเซลกระบอก(รอด) แล้วเซลที่บอกสีได้ เรียกว่ากรวย(โคน) ตามรูปร่างของเซล เจ้าเซลกรวยนี่แหละคือคำตอบ เซลกรวยจะมีกลุ่มย่อยเป็น 3 กลุ่ม ที่ไวต่อแสงสีที่ต่างกันมากที่สุด 3 สี คือสี แดง เขียว แล้วก็ฟ้า (R G B) แล้วเวลาแสงมากระทบจอตาของคน ก็คือกระทบเซลกรวยนี้นั่นแหละครับ ถ้ากระทสมองตีความเป็นสีได้ต่างๆ กันไป การสร้างสีบนบสามชุดเท่า ๆ กัน สมอง ก็จะตีความเป็นสีขาว ถ้าแสงสีอื่นมากระทบ เซลทั้งสามจะทำงานในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ทำให้หน้าจอ TV หรือ monitor จึงใช้การสร้างสีเพียง 3 สีก็พอ ที่จะทำให้คนรับรู้เป็นสีอะไรก็ได้
กับ http://cpe.kmutt.ac.th/wiki/index.php/Television_Signals_&_Systems 9.Chrominance Section ทำหน้าที่ แยกเอาสัญญาณ (R Y) และ (B Y) ออกจากสัญญาณโครมิแนนซ์ และสร้างสัญญาณทางออกเบ่งออกได้ 2 แบบได้แก่
1) แบบสัญญาณ R G B โดยการนำเอาสัญญาณลูมิแนนซ์จากลูมิแนนซ์เซคชั่น มารวมกันกับสัญญาณ (R Y), (B Y), (G Y) ภายใน โครมิแนนซ์เซคชั่นตามสมการ
R = (R - Y) + Y, B = (B Y) + Y, G = (G Y) + Y
สัญญาณทางออกของ R G B Output คือ สัญญาณ R, G, B ใช้สร้างภาพสี
11. Color Cathode Ray Tube ทำหน้าที่เปลี่ยนจากสัญญาณ R G B ทางไฟฟ้า ให้เป็น แสงสีดแง, เขียว, น้ำเงิน ซึ่งเป็นแม่สีของแสง และสามารถผสมสีทางแสงได้เป็น แสงสีขาว, แสงสีเหลือง, สีฟ้า, สีเขียว, สีม่วง, สีแดง, สีน้ำเงิน ออกทางหน้าจอภาพ โดยการใช้หลักการลำอิเล็กตรอนพุ่งชนสารเรืองแสง R G B ในอัตราส่วนที่ถูกต้อง และลำอิเล็กตรอนต้องได้รับการสแกนที่ถูกต้องด้วย
ประมาณว่ามันเป็นสีสามสีที่ใช้ในการกระจายภาพของพวกวิทยุโทรทัศน์น่ะค่ะ
จากคุณ |
:
ดี เริ่ด (มาดามมืด...)
|
เขียนเมื่อ |
:
26 ต.ค. 52 17:09:20
|
|
|
|
|